Tuesday, August 04, 2020

途优加速器

w加速任天行安卓版

สาเหตุและจุดเริ่มต้น เหตุการณ์ 14 ตุลา ‘วันมหาวิปโยค’

หลังจากเวลาผ่านมาเนิ่นนานถึง 40 ปีเต็ม ! หลังจากเกิดเหตุการณ์ประวัติศาสตร์ สะเทือนใจประชาชนไปทั่วประเทศ จากการเรียกร้องประชาธิปไตยของเหล่านักศึกษารวมทั้งบรรดาประชาชนซึ่งไม่อาจทนต่อความอยุติธรรมได้อีกต่อไป โดยเหตุการณ์นี้ยังคงเป็นที่จดจำมาจนถึงทุกวันนี้… ความกล้าหาญของเหล่าวีรชนที่…เรียกร้องรัฐธรรมนูญ ซึ่งสาเหตุเริ่มต้นมาจาก ‘จอมพลถนอม กิตติขจร’ ก่อการรัฐประหารใน วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 ทางด้านนักศึกษารวมทั้งประชาชนจำนวนมากประณามว่าการกระทำในครั้งนี้ เป็นการสืบทอดอำนาจอันไม่ชอบธรรมต่อจาก ‘จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์’ นอกจากนี้ ‘จอมพลประภาส จารุเสถียร’ ก็ยังต่ออายุราชการให้ตนเองจนเสร็จสรรพอีกด้วย เท่านั้นยังไม่พอข่าวเรื่องการทุจริตในวงราชการต่าง ๆ สร้างความไม่พอใจเพิ่มมากขึ้น วันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2516 เฮลิคอปเตอร์ทหาร พบซากสัตว์เป็นจำนวนมาก โดยสัตว์เหล่านี้ถูกล่ามาจากทุ่งใหญ่นเรศวร จากความเสื่อมโทรมทั้งหลายนี้ จึงสร้างกระแสความไม่พอใจ ให้แก่นิสิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รวมทั้งประชาชนจำนวนมาก การปะทะที่ทำให้เกิดผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บเป็นจำนวนมาก ในเดือน ‘ตุลาคม’ วันที่ 9 ตุลาคม นักศึกษาต่างสถาบันผู้ต้องการทวงถามถึงความยุติธรรทในการปกครอง เริ่มออกมาชุมนุม พร้อมยื่นหนังสือถึง ‘จอมพล ถนอม’ ให้ปล่อย 13 กบฏ […]

royal-ceremony-Rama-VII

การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของประเทศไทยแต่โบราณ

สมบูรณาญาสิทธิราชย์ คือการปกครองในรูปแบบใด ? คือ ระบอบการปกครองประเทศรูปแบบหนึ่ง ซึ่งมีกษัตริย์เป็นผู้ปกครอง กษัตริย์มีสิทธิ์ในการบริหารประเทศ สำหรับระบอบการปกครองนี้ กษัตริย์เป็นทุกๆ อย่างของประเทศ โดยเฉพาะกฎหมาย กฎหมายอยู่ที่กษัตริย์, คำสั่งรวมทั้งความต้องการต่างๆ ล้วนมีผลเป็นกฎหมายทั้งสิ้น กษัตริย์มีอำนาจปกครองแผ่นดินอย่างอิสรเสรี โดยปราศจากกฎหมายหรือองค์กรตามกฎหมายใดๆ ที่จะสามารถห้ามปรามได้ หากแต่องค์กรทางศาสนา อาจออกเสียงทักท้วงจากการกระทำบางอย่างได้บ้าง นอกจากกษัตริย์ จะถูกคาดหวังว่าจะปฏิบัติตามธรรมเนียมตามโบราณกาล หากแต่ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ปราศจากรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใดๆ จะอยู่เหนือกว่ากษัตริย์ได้ สำหรับในเรื่องของทฤษฎีกล่าวว่า กษัตริย์มีอำนาจเหนือประชาชน บางครั้งก็เหนือกว่าศาสนาด้วย ส่วนในทางปฏิบัติจริง กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จะถูกจำกัดอำนาจบ้างจากกลุ่มดังกล่าว ยกตัวอย่าง กษัตริย์บางพระองค์ เช่น จักรวรรดิเยอรมนีในปี ค.ศ. 1871-1918 ประกอบด้วยรัฐสภาที่ปราศจากอำนาจ เหมือนกับตั้งขึ้นมาเฉยๆ หาแต่กษัตริย์สามารถแก้ไขได้ตามต้องการ ถึงแม้จะกล่าวว่านี่คือ ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ หากแต่โดยทางเทคนิคแล้ว นี่คือการปกครองระบอบราชาธิปไตยที่อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ เพราะการมีอยู่ของรัฐธรรมนูญรวมทั้งกฎหมายพื้นฐานของประเทศ สำหรับประเทศที่ใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ซึ่งยังดำรงอยู่ ณ ปัจจุบัน ยกตัวอย่าง เช่น… สวาซิแลนด์, ซาอุดิอาระเบีย, บรูไน, โอมาน เป็นต้น ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ของประเทศไทย […]

ติดตามข่าวสาร

Advertisement

Politics-book-new